Image not available
Image not available

ค้นหา

แนะนำคณะผู้บริหาร

Image not available

นายสุคนธ์ เครือบคนโท

นายกเทศมนตรีตำบลพนมรุ้ง

Image not available

นายพล เสาวพันธุ์

รองนายกเทศมนตรีตำบลพนมรุ้ง

Image not available

นายวัชรชัย สวัสดิ์รัมย์

ที่ปรึกษานายกเทศมนตรีตำบลพนมรุ้ง

Image not available

นางบังอร อ้อมวิหาร

รองนายกเทศมนตรีตำบลพนมรุ้ง

นางสาวรัตนาวดี พรมรุกชาติ

เลขานุการนายกเทศมนตรีฯ

Image not available

หัวหน้าส่วนงานราชการ

Image not available

นางขวัญตา ลัทธิ

ปลัดเทศบาล

Image not available

นางสาธิยา สีหะวงษ์

รองปลัดเทศเทศบาล

Image not available
Image not available


พันจ่าตรีหญิงพูนศรี ภูชุม
ผอ.กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม

Image not available

นายทิวา เมี้ยนมิตร

รก.ผู้อำนวยการกองช่าง

Image not available

จ่าเอกภวิศ บังอร

ผอ.กองยุทธศาสตร์และงบประมาณ

นางสาธิยา สีหะวงษ์
รองปลัดเทศบาล
รักษาการ ผอ.กองการศึกษา
Image not available

นางบุญรอด ศรีผดุง

ผอ.กองสวัสดิการสังคม

Image not available

นางสุรีรัตน์ รุ้งเป้า
ผู้อำนวยการกองคลัง

Image not available

Image not available

นายสมชาย อาญาเมือง

เจ้าพนักงานประปา
รก.แทน ผอ.กองการประปา

Image not available

นางทัสมาลี กิ่มผกา

หัวหน้าสำนักปลัด

Login Form

สถิติการเยี่ยมชม

1345551
Today
Yesterday
This Week
Last Week
This Month
Last Month
All days
66
152
1133
1341851
6416
9326
1345551

Your IP: 3.236.209.138
Server Time: 2023-03-31 08:58:02

รายงานสภาพอากาศวันนี้

 
ภารกิจอำนาจหน้าที่ของเทศบาลตามพระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. ๒๔๙๖ พระราชบัญญัติกำหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. ๒๕๔๒ และตามกฎหมายอื่น ดังต่อไปนี้
 
๑. ด้านโครงสร้างพื้นฐาน มีภารกิจที่เกี่ยวข้องดังนี้ 
(๑) การจัดให้มีและบำรุงรักษาทางบกทางน้ำ และทางระบายน้ำ (มาตรา ๑๖ (๒) มาตรา ๕๐ (๒)              
(๒) การสาธารณูปโภคและการก่อสร้างอื่น ๆ (มาตรา ๑๖ (๔))
(๓) การสาธารณูปการ (มาตรา ๑๖ (๕))
(๔) การควบคุมอาคาร (มาตรา ๑๖ (๒๘))
(๕) การผังเมือง (มาตรา ๑๖ (๒๕))
(๖) ให้มีน้ำสะอาดหรือการประปา (มาตรา ๕๑ (๑))
(๗) ให้มีและบำรุงการไฟฟ้าหรือแสงสว่างโดยวิธีอื่น (มาตรา ๕๑ (๗))
(๘) การขนส่งและการวิศวกรรมจราจร (มาตรา ๑๖ (๒๖))
(๙) การจัดให้มีและควบคุมตลาด ท่าเทียบเรือ ท่าข้าม และที่จอดรถ (มาตรา ๑๖(๓) (มาตรา ๕๑ (๓))
 
๒. ด้านส่งเสริมคุณภาพชีวิต มีภารกิจที่เกี่ยวข้อง ดังนี้ 
(๑) การจัดการศึกษา (มาตรา ๑๖ (๙) (มาตรา ๕๐ (๖) )
(๒) การส่งเสริมกีฬา (มาตรา ๑๖ (๑๔))
(๓) การสาธารณสุข การอนามัยครอบครัว และการรักษาพยาบาล (มาตรา ๑๖ (๑๙)(มาตรา ๕๐ (๔))
(๔) การสังคมสงเคราะห์ และการพัฒนาคุณภาพชีวิตเด็ก สตรี คนชรา และผู้ด้อยโอกาส (มาตรา๑๖) 
(๕) การจัดให้มีและควบคุมสุสานและฆาตปนสถาน (มาตรา๑๖(๒๐) (มาตรา๕๑ (๔))
(๖) ให้มีและบำรุงสถานที่ทำการพิทักษ์รักษาคนเจ็บไข้ (มาตรา ๕๑ (๖))
(๗) การควบคุมการเลี้ยงสัตว์ (มาตรา ๑๖ (๒๑))
(๘) การจัดให้มีและควบคุมการฆ่าสัตว์ (มาตรา ๑๖ (๒๒))
 
๓. ด้านการจัดระเบียบชุมชน สังคม และการรักษาความสงบเรียบร้อยมีภารกิจที่เกี่ยวข้อง ดังนี้
(๑) การักษาความสงบเรียบร้อยของประชาชน (มาตรา ๕๐ (๑))
(๒) การรักษาความปลอดภัย  ความเป็นระเบียบเรียบร้อย และการอนามัยโรงมหรสพและสาธารณสถานอื่น ๆ (มาตรา ๑๖ (๒๓))
(๓) การปรับปรุงแหล่งชุมชนแออัด และการจัดการเกี่ยวกับที่อยู่อาศัย (มาตรา๑๖ (๑๒))
(๔) การรักษาความสะอาด และความเป็นระเบียบเรียบร้อยของบ้านเมือง (มาตรา ๑๖ (๑๗))
(๕) การรักษาความสงบเรียบร้อย การส่งเสริมและสนับสนุนการป้องกันและรักษาความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน (มาตรา ๑๖ (๓๐))
(๖) การป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย (มาตรา ๑๖ (๒๙))
 
๔. ด้านการวางแผน การส่งเสริมการลงทุน พาณิชกรรม และการท่องเที่ยว  มีภารกิจที่เกี่ยวข้อง ดังนี้
(๑) บำรุงและส่งเสริมการทำมาหากิจของราษฎร (มาตรา ๕๑ (๕))
(๒) การส่งเสริม การฝึก และการประกอบอาชีพ (มาตรา ๑๖ (๖))
(๓) การพาณิชย์ และการส่งเสริมการลงทุน (มาตรา ๑๖ (๗) มาตรา ๕๑ (๙))
(๔) การส่งเสริมการท่องเที่ยว (มาตรา ๑๖ (๘))
(๕) การจัดทำแผนพัฒนาท้องถิ่นของตนเอง (มาตรา ๑๖ (๑))
 
๕. ด้านการบริหารจัดการและการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม  มีภารกิจที่เกี่ยวข้อง ดังนี้
(๑) การจัดการ การบำรุงรักษาและการใช้ประโยชน์จากป่าไม้ ที่ดินทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (มาตรา ๑๖ (๑๔))
(๒) การจัดให้มีและบำรุงรักษาสถานที่พักผ่อนหย่อนใจ (มาตรา ๑๖ (๑๓))
(๓) การดูแลที่สาธารณะ (มาตรา ๑๖ (๒๗))
(๔) การกำจัดขยะมูลฝอย สิ่งปฏิกูลและน้ำเสีย (มาตรา ๑๖ (๑๘) มาตรา ๕๐ (๓))
 
๖. ด้านการศาสนา ศิลปวัฒนธรรม จารีตประเพณี และภูมิปัญญาท้องถิ่น  มีภารกิจที่เกี่ยวข้อง ดังนี้
(๑) บำรุงรักษาศิลปะ จารีตประเพณี ภูมิปัญญาท้องถิ่น และวัฒนะธรรมอันดีของท้องถิ่น (มาตรา ๑๖ (๑๑) มาตรา ๕๐ (๘))
 
๗. ด้านการบริหารจัดการและสนับสนุนการปฏิบัติภารกิจของส่วนราชการและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น  มีภารกิจที่เกี่ยวข้อง ดังนี้
(๑) ให้มีเครื่องใช้ในการดับเพลิง (มาตรา ๕๐ (๕))
(๒) การส่งเสริมประชาธิปไตย ความเสมอภาค และสิทธิเสรีภาพของประชาชน(มาตรา ๑๖ (๑๕))
(๓) การส่งเสริมการมีส่วนร่วมของราษฎรในการพัฒนาท้องถิ่น (มาตรา ๑๖ (๑๖))
ภารกิจทั้ง ๗  ด้านตามที่กฎหมายกำหนดให้อำนาจเทศบาลดังกล่าวสามารถจะแก้ไขปัญหาของเทศบาลตำบลนกออก ได้โดยการจัดทำแผนพัฒนากำหนดแนวทางและวิธีการในการดำเนินงานแต่ละด้านให้เป็นไปตามความต้องการของประชาชนในเขตพื้นที่ให้สอดคล้องกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ แผนพัฒนาอำเภอฯ แผนพัฒนาจังหวัด นโยบายรัฐบาลและนโยบายของผู้บริหารเทศบาลเทศบาลตำบลนกออก วิเคราะห์แล้วพิจารณาเห็นว่าภารกิจหลักและภารกิจรองที่จะต้องดำเนินการ ได้แก่
 
ภารกิจหลัก  และภารกิจรองที่เทศบาลจะดำเนินการ
ภารกิจหลัก
๑. การพัฒนาและปรับปรุงแหล่งท่องเที่ยว
๒. การพัฒนาและส่งเสริมอาชีพ
๓. การรักษาความสงบเรียบร้อยของประชาชน
๔. ให้มีและบำรุงทางบกและทางน้ำ
๕. รักษาความสะอาดของถนน หรือทางเดินและที่สาธารณะ รวมทั้งการกำจัดขยะมูลฝอยและสิ่งปฏิกูล
๖. ป้องกันและระงับโรคติดต่อ
๗. ให้มีเครื่องใช้ในการดับเพลิง
๘. ให้ราษฎรได้รับการศึกษาอบรม
๙. ส่งเสริมการพัฒนาสตรี เด็ก เยาวชน ผู้สูงอายุ และผู้พิการ
๑๐. บำรุงศิลปะ จารีตประเพณี ภูมิปัญญาท้องถิ่น และวัฒนธรรมอันดีของท้องถิ่น
๑๑. หน้าที่อื่นตามกฎหมายบัญญัติให้เป็นหน้าที่ของเทศบาล
 
ภารกิจรอง
๑. ให้มีโรงฆ่าสัตว์
๒. บำรุงและส่งเสริมการทำมาหากินของราษฎร
๓. ให้มีและบำรุงการไฟฟ้าหรือแสงสว่างโดยวิธีอื่น
๔. ให้มีและบำรุงทางระบายน้ำ
๕. ให้มีสุสาน และฌาปนสถาน
๖. ให้มีน้ำสะอาดหรือการประปา
๗. ให้มีตลาด ท่าเทียบเรือและท่าข้าม
๘. ให้มีและบำรุงสถานที่ทำการพิทักษ์รักษาคนเจ็บไข้
๙. เทศพาณิชย์